ชื่อ: สังคมวิทยาชนบท : แนวคิดทางทฤษฎีและแนวโน้มในสังคม
รศ.ดร.สมศักดิ์ ศรีสันติสุข
สำนักพิมพ์: เอ็กเปอร์เน็ท
หมวดหลัก: การบริหารงานบุคคล
ขนาดไฟล์:
เนื้อหาอีบุ๊ค
" หนังสือ “สังคมวิทยาชนบท : แนวคิดทางทฤษฎีและแนวโน้มในสังคม” เล่มนี้ เป็น เอกสารตำราหลักสำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนในวิชา “สังคมและวัฒนธรรมชุมชน ท้องถิ่น (Social and Culture of Local Community)” ของหลักสูตรรัฐประศาสน- ศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับสถาบันการศึกษา หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อนักวิชาการ นักบริหารและนักพัฒนาซึ่ง ต้องปฏิบัติงานในชนบท เพื่อจะได้เข้าใจวิธีการศึกษาวิเคราะห์สภาพสังคมหรือชุมชน ลักษณะ ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวชนบท และปัญหาที่แท้จริง เพื่อที่จะได้แก้ปัญหาและอุปสรรค ต่างๆ รวมทั้งพัฒนาสังคมชนบทให้เจริญก้าวหน้าได้ดียิ่งขึ้นต่อไป สาระสำคัญของหนังสือเล่มนี้ได้อธิบายถึง ความสัมพันธ์ของสังคมวิทยาเพื่อการ พัฒนาชนบท ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนเมืองและชนบท การประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัย ทางสังคมชนบททั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งทฤษฎีต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัยเพื่อศึกษา ปรากฏการณ์ทางสังคมชนบท วิถีชีวิตชนบทและโครงสร้างทางสังคมชนบท ตลอดจน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับสังคมชนบท ที่กำลังจะเปลี่ยนแปลงไปสู่ความทันสมัยที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน "
" หนังสือ “สังคมวิทยาชนบท : แนวคิดทางทฤษฎีและแนวโน้มในสังคม” เล่มนี้ เป็น เอกสารตำราหลักสำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนในวิชา “สังคมและวัฒนธรรมชุมชน ท้องถิ่น (Social and Culture of Local Community)” ของหลักสูตรรัฐประศาสน- ศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับสถาบันการศึกษา หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อนักวิชาการ นักบริหารและนักพัฒนาซึ่ง ต้องปฏิบัติงานในชนบท เพื่อจะได้เข้าใจวิธีการศึกษาวิเคราะห์สภาพสังคมหรือชุมชน ลักษณะ ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวชนบท และปัญหาที่แท้จริง เพื่อที่จะได้แก้ปัญหาและอุปสรรค ต่างๆ รวมทั้งพัฒนาสังคมชนบทให้เจริญก้าวหน้าได้ดียิ่งขึ้นต่อไป สาระสำคัญของหนังสือเล่มนี้ได้อธิบายถึง ความสัมพันธ์ของสังคมวิทยาเพื่อการ พัฒนาชนบท ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนเมืองและชนบท การประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัย ทางสังคมชนบททั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งทฤษฎีต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัยเพื่อศึกษา ปรากฏการณ์ทางสังคมชนบท วิถีชีวิตชนบทและโครงสร้างทางสังคมชนบท ตลอดจน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับสังคมชนบท ที่กำลังจะเปลี่ยนแปลงไปสู่ความทันสมัยที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน "